ความรู้สึกในการเรียนสัปดาห์ที่ 13
สัปดาห์นี้ เป็นการเรียนรู้เรื่องการทำ Photoshop (PS) การใช้โปรแกรมตกแต่งภาพ
โดยมีหัวข้อ"วัดงามนามระบือ" ตกแต่งภาพตามที่ตนเองต้องการ
บล็อค Nan nuttawan
วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2562
วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562
วันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2562
งานครั้งที่ 12การสร้างข้อสอบคู่ขนาน
การสร้างข้อสอบคู่ขนาน
ข้อสอบคู่ขนาน วิชาภาษาไทย ชั้น ป.
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSfrEuir_meyjQN4eK27RN2f_DjPn2_r5eGilfCKTGuRuHV3IQ/viewform?usp=sf_linkQR CODE
วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562
ความรู้สึกในการเรียน สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 10-8-62
ความรู้สึกในการเรียน สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 10-8-62
ได้เรียนรู้ และวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ในบริบทของตนเองตามรูปแบบ ADDIE Model
ในขั้น Analyze และ Drsign เพื่อนำมาจัดทำเป็นสตอรี่บอร์ด ได้ออกแบบฃั้นงานของตนเอง ในเนื่อหาวิฃา และแผนการสอนของตนเอง
ได้เรียนรู้ และวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ในบริบทของตนเองตามรูปแบบ ADDIE Model
ในขั้น Analyze และ Drsign เพื่อนำมาจัดทำเป็นสตอรี่บอร์ด ได้ออกแบบฃั้นงานของตนเอง ในเนื่อหาวิฃา และแผนการสอนของตนเอง
ครั้งที่ 10 การออกแบบการเรียนการสอนของตนเอง ADDIE MODEL
การออกแบบการเรียนการสอนของตนเอง ADDIE MODEL
เรื่อง การอ่านคำประสม สระ แ- วิชาภาษาไทย ระดับชั้น ป.1
ขั้นที่ 1 ขั้นวิเคราะห์ (Analysis phase)
ศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนวิชภาษาไทย ซึ่งเป็นภาษาประจำตัวของคนไทย การเรียนรู้ และฝึกอ่านคำ โดยที่มีความเหมาะสมกับการเรียนรู้ในวัยของนักเรียน1.1 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้น ป.1 จำนวน 38 คน
1.2 การวิเคราะห์งาน คือ การใช้ชุดบัตรคำดอกไม้ และปฏิทินบัตรคำ เพื่อฝึการสะกดคำ ที่ประสมสระ แ- และฃุดฝึกเติมคำที่มีสระ แ- ให้มีความหมาย จัดกิจกรรมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมภายในห้องเรียน
1.3 วัตถุประสงค์ คือ
1) เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ แ- เป็นคำพื้นฐานภาษาไทยสำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านคำพื้นฐานภาษาไทยสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ขั้นที่ 2 การออกแบบ(Design phase)
2.1 กำหนดเนื้อหาที่จะใช้สอน ตามแผนการสอน2.2 จัดกิจกรรมการใช้สื่อ บัตรคำ และนิทาน มีการทดสอบก่อนเรียน ด้วยกิจกรรม
2.3 สร้างเครื่องมือ ชุดใบงาน หลังการสอน ทดสอบความเข้าในในบทเรียน ที่ได้เรียนรู้ภายในชั่วโมง
2.4 สร้างเครื่องมือ แบบทดสอบ การอ่านคำง่ายๆ เพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจ
วันศุกร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562
งานครั้งที่ 11การใช้โปรแกรม Paint ในการสอนวิชาภาษาไทย
สอนวิชา ภาษาไทย
เรื่องการแต่งประโยคจากภาพ
ขั้นนำ
1. ครูเล่าถึงธรรมชาติที่สวยงาม และน่าอยู่ ยกตัวอย่างมา 1 เรื่อง ท้องทะเลสวยงาม ความรู้สึกเมื่อเห็นท้องทะเล
2. ให้นักเรียนบอกธรรมชาติที่ตนเองชื่นชอบ และบรรยายให้เพื่อน และครูฟัง
ขั้นสอน
1. ให้นักเรียนดูภาพ 4 ภาพ และตอบว่า คือภาพอะไรบ้าง
2. ครุูให้นักเรียนวิเคราะห์ ภาพ และบรรยายภาพ แต่ละภาพ โดยบอกเป็ยแระโยค
3. ให้นักเรียนนำภาพทั้ง 4 มาแต่งเป็นประโยค โดยให้มีความหมายตรงตามภาพ
ขั้นสรุป
1. ครู และนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ภาพ และประโยคที่นักเรียนแต่งในความคิดของแต่ละคน
วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
ความรู้สึก ในการเรียนออนไลน์ผ่าน Google Classroom 21 ก.ค. 62
ความรู้สึก ในการเรียน สัปดาห์นี้ ........21 ก.ค. 62
- ได้เรียนรู้การเข้าเรียนคอร์สเรียนออนไลน์ผ่าน Google Classroom
- ได้เข้าศึกษาคอร์สเรียนออนไลน์ผ่าน Google Classroom ของหลักสูตร
ป.บัณฑิต
การออกแบบสื่อการสอน ตามหลักการออกแบบของ ADDIE model
การออกแบบสื่อการสอน ตามหลักการออกแบบของ ADDIE model
เรื่อง การพัฒนาหนังสื่อภาพรวมกับการสอนภาษาแบบธรรมชาติเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านคำพื้นฐานภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ขั้นที่ 1 ขั้นวิเคราะห์ (Analysis phase)
1.1 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้น ป.1
1.2 การวิเคราะห์งาน คือ ภาพรวมกับการสอนภาษาแบบธรรมชาติเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านคำพื้นฐานภาษาไทย
1.3 วัตถุประสงค์ คือ
1) พัฒนาหนังสือภาพร่วมกับการสอนภาษาแบบธรรมชาติ เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านคำพื้นฐานภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้ภาษามลายูถิ่นเป็นภาษาแม่ให้มีประสิทธิภาพ
2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านคำพื้นฐานภาษาไทยสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้ภาษามลายูถิ่นเป็นภาษาแม่ ก่อนและหลังการใช้หนังสือภาพร่วมกับการสอนภาษาแบบธรรมชาติ และ
3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถม- ศึกษาปีที่ 1ที่มีต่อการใช้หนังสือภาพร่วมกับการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
ขั้นที่ 2 การออกแบบ(Design phase)
2.1 กำหนดเนื้อหาที่จะใช้สร้างชุดสื้อ
2.2จัดประเภทสื่อ
2.3 สร้างเครื่องมือ
2.4 พัฒนาการสร้างสื้อสอนภาษาแบบธรรมชาติ
ขั้นที่ 3 ขั้นการพัฒนา (Development phase)
3.1 พัฒนาสื้อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
3.2 พัฒนาแบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน
ขั้นที่ 4 ขั้นดำเนินการ (implementation phase)
4.1 นำชุดสื้อการสอนภาษาแบบธรรมชาติไปใช้กับนักเรียน
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation phase)
5.1ประเมินผลแบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน
*****************************************
เรื่อง การใช้ชุดบัตรคำ อ่านคำประสมคำวิชาภาษาไทย ระดับชั้น ป.1
ขั้นที่ 1 ขั้นวิเคราะห์ (Analysis phase)
1.1 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้น ป.1 จำนวน 38 คน
1.2 การวิเคราะห์งาน คือ การใช้ชุดบัตรคำ เพื่อการอ่านคำ เรียนรู้เรื่อง พยัยชนะ และสระ ของการอ่านคำพื้นฐานภาษาไทย
1.3 วัตถุประสงค์ คือ
1) เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านคำพื้นฐานภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านคำพื้นฐานภาษาไทยสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ขั้นที่ 2 การออกแบบ(Design phase)
2.1 กำหนดเนื้อหาที่จะใช้สอน
2.2 จัดกิจกรรมการใช้สื่อ บัตรคำ
2.3 สร้างเครื่องมือ
2.4 สร้างเครื่องมือ แบบทดสอบ การอ่านคำ
ขั้นที่ 3 ขั้นการพัฒนา (Development phase)
3.1 พัฒนาสื่อที่ใช้สอน
3.2 พัฒนาแบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน
ขั้นที่ 4 ขั้นดำเนินการ (implementation phase)
4.1 นำเครื่องมือที่สร้างไปใช้กับนักเรียน
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation phase)
5.1ประเมินผลแบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน
วันพุธที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
จัดทำอินโฟกราฟฟิค
จัดทำอินโฟกราฟฟิค 2 ภาพ 29/06/62
1.ภาพสรุปความรู้ในเรื่องที่้้ได้ค้นคว้าจากฐานข้อมูล
ดูภาพได้ที่..... https://create.piktochart.com/infographic/saved/39708231
2. ภาพความรู้ในรายวิชาที่สอนเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนของตนเอง
ดูภาพได้ที่..... https://create.piktochart.com/infographic/saved/39713269#
วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2562
สรุป ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS)
สรุป ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS)
mind map.... https://www.mindmeister.com/1289242915#
ได้ออกแบบเอง และสร้างเอง สนุกดีค่ะ
วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2562
สรุปงานวิจัย
ค้นหาที่...
https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=237091&query=%C0%D2%C9%D2%E4%B7%C2%20&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-06-22&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=4&maxid=19721
เรื่อง การพัฒนาชุดการสอนการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
โดยใช้หนังสือสำหรับเด็กเป็นสื่อหลัก
ของ บุปผา ล้วนเหล็ก เป็นงานประเภท วิจัย
สรุปเนื้อหา การอ่านจับใจความเป็นเป็นเรื่องสำคัญเกี่ยวกับการเรียนของนักเรียน เพราะ เป็นภาษาที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน ครูผู้สอนจำหาวิธีการสอนที่มุ่งเน้นเรื่องการิ่านเรื่อง และตอบคำถามจากเรื่อง เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือชุดการอ่านจับใจความ ให้นักเรียนทำแบบทดสอบ เป็นการฝึก และกระตุ้นให้นักเรียน มีผลทางการเรียนที่ดีขึ้น
เราสามารถนำไปใช้กับเด็กนักรียน คือ นำไปใช้ในการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย โดยใช้ ชุดการอ่านจับใจความ
https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=237091&query=%C0%D2%C9%D2%E4%B7%C2%20&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2562-06-22&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=4&maxid=19721
เรื่อง การพัฒนาชุดการสอนการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
โดยใช้หนังสือสำหรับเด็กเป็นสื่อหลัก
ของ บุปผา ล้วนเหล็ก เป็นงานประเภท วิจัย
สรุปเนื้อหา การอ่านจับใจความเป็นเป็นเรื่องสำคัญเกี่ยวกับการเรียนของนักเรียน เพราะ เป็นภาษาที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน ครูผู้สอนจำหาวิธีการสอนที่มุ่งเน้นเรื่องการิ่านเรื่อง และตอบคำถามจากเรื่อง เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือชุดการอ่านจับใจความ ให้นักเรียนทำแบบทดสอบ เป็นการฝึก และกระตุ้นให้นักเรียน มีผลทางการเรียนที่ดีขึ้น
เราสามารถนำไปใช้กับเด็กนักรียน คือ นำไปใช้ในการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย โดยใช้ ชุดการอ่านจับใจความ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ความรู้สึกในการเรียนสัปดาห์ที่ 13
ความรู้สึกในการเรียนสัปดาห์ที่ 13 สัปดาห์นี้ เป็นการเรียนรู้เรื่องการทำ Photoshop (PS) การใช้โปรแกรมตกแต่งภาพ โดยมีหัวข้อ"วัดงามนาม...

-
การออกแบบสื่อการสอน ตามหลักการออกแบบของ ADDIE model เรื่อง ก ารพัฒนาหนังสื่อภาพรวมกับการสอนภาษาแบบธรรมชาติเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่...
-
สรุป ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) mind map.... https://www.mindmeister.com/1289242915# ความรู้...